ราคาน้ำมันไต่ขึ้นมาถึง 72 เหรียญ แต่ความผันผวนของ Brent หรือ Volaility Index นั้นกำลังลดลงไปอยู่ในระดับต่ำสุดในรอบ 8 ปี ! (จากกราฟในคอมเม้น) แต่ทุกๆอย่างอาจเปลี่ยนไปภายในอีก 2 อาทิตย์ เมื่อสหรัฐจะชี้ชะตาตลาดว่าจะทำอย่างไรต่อไปกับการผ่อนผันคว่ำบาตรอิหร่าน
---------------------
ดัชนีความผันผวนของน้ำมันลดลงอย่างรวดเร็ว
ตั้งแต่ที่เราซื้อขายในกรอบแคบๆ 60 – 68 เหรียญมาตลอดไตรมาสที่ 1 ของปีนี้ และในเดือนเมษายนก็อยู่ภายในกรอบเพียง 68 - 72 เหรียญ ทำให้ไม่เป็นที่น่าแปลกใจมากที่ Volatility Index จะตกลงมาสู่ระดับต่ำสุดในรอบ 8 ปี
โดยหากเราเข้าไปดูในรายละเอียดแล้ว ความผันผวนที่ซื้อขายกันในตลาดล่วงหน้า (Imply Volatility) นั้นลดลงมาอยู่ที่ 20% ต้นๆ ในขณะที่ความผันผวนของราคาที่ซื้อขายจริงในปัจจุบันนั้นหล่นมาเหลือเพียง 12%เ ท่านั้น
---------------------
ดัชนีความผันผวนของน้ำมันลดลงอย่างรวดเร็ว
ตั้งแต่ที่เราซื้อขายในกรอบแคบๆ 60 – 68 เหรียญมาตลอดไตรมาสที่ 1 ของปีนี้ และในเดือนเมษายนก็อยู่ภายในกรอบเพียง 68 - 72 เหรียญ ทำให้ไม่เป็นที่น่าแปลกใจมากที่ Volatility Index จะตกลงมาสู่ระดับต่ำสุดในรอบ 8 ปี
โดยหากเราเข้าไปดูในรายละเอียดแล้ว ความผันผวนที่ซื้อขายกันในตลาดล่วงหน้า (Imply Volatility) นั้นลดลงมาอยู่ที่ 20% ต้นๆ ในขณะที่ความผันผวนของราคาที่ซื้อขายจริงในปัจจุบันนั้นหล่นมาเหลือเพียง 12%เ ท่านั้น
แต่ทำไมความผันผวนของตลาดล่วงหน้า ถึงยังสูงกว่าราคาปัจจุบันถึงเกือบสองเท่านั้นหรือ ? นั้นก็เพราะตลาดทราบดีว่า จุดเปลี่ยนของตลาดที่สำคัญกำลังจะมาถึงครับ
---------------------
สถานการณ์ล่าสุดของมาตรการคว่ำบาตรอิหร่าน
วันที่ 2 พฤษภาคมนี้ ก็จะถึงกำหนดเส้นตาย 180 วันที่สหรัฐยังผ่อนผันให้ 8 ประเทศยังนำเข้าน้ำมันจากอิหร่านได้อยู่ เรายังไม่แน่ใจว่าทรัมป์จะตัดสินใจอย่างไร แต่ตัวเลขการส่งออกในเดือนมีนาคมของอิหร่านยังสูงถึง 1.7 ล้านบาร์เรลต่อวันอยู่ ซึ่งจะกระทบต่อตลาดหนักมากแน่ๆ หากไม่ได้รับการผ่อนผันในระดับเดิม
โดยประเทศที่ยังนำเข้าน้ำมันอิหร่านในเดือนมีนาคมอยู่มีปริมาณต่างๆ ดังนี้
1) จีน - 0.61 ล้านบาร์เรลต่อวัน
2) เกาหลีใต้ - 0.39 ล้านบาร์เรลต่อวัน
3) อินเดีย - 0.26 ล้านบาร์เรลต่อวัน
4) ญี่ปุ่น - 0.11 ล้านบาร์เรลต่อวัน
5) ตุรกี - 0.10 ล้านบาร์เรลต่อวัน
6-8) ไต้หวัน , กรีซ และ อิตาลี - รวม 0.226 ล้านบาร์เรลต่อวัน
รวมทั้งหมด 1.7 0.10 ล้านบาร์เรลต่อวัน (ที่มา Bloomberg ตามกราฟในคอมเม้น)
---------------------
ล่าสุดทาง CNBC วิเคราะห์ว่า มีโอกาศเพียง 15% เท่านั้นที่สหรัฐจะยกเลิกการผ่อนผันออกอย่างสิ้นเชิง
ด้วยเหตุนี้ ทางเราจึงมองว่าราคาน้ำมัน ไม่น่าจะนิ่งอยู่ได้นานอย่างที่เราเห็นในช่วงนี้ ราคาน่าจะมีการปรับฐานแน่ๆ เมื่อใกล้วันที่ 2 พฤษภาคมนี้ครับ
---------------------
สถานการณ์ล่าสุดของมาตรการคว่ำบาตรอิหร่าน
วันที่ 2 พฤษภาคมนี้ ก็จะถึงกำหนดเส้นตาย 180 วันที่สหรัฐยังผ่อนผันให้ 8 ประเทศยังนำเข้าน้ำมันจากอิหร่านได้อยู่ เรายังไม่แน่ใจว่าทรัมป์จะตัดสินใจอย่างไร แต่ตัวเลขการส่งออกในเดือนมีนาคมของอิหร่านยังสูงถึง 1.7 ล้านบาร์เรลต่อวันอยู่ ซึ่งจะกระทบต่อตลาดหนักมากแน่ๆ หากไม่ได้รับการผ่อนผันในระดับเดิม
โดยประเทศที่ยังนำเข้าน้ำมันอิหร่านในเดือนมีนาคมอยู่มีปริมาณต่างๆ ดังนี้
1) จีน - 0.61 ล้านบาร์เรลต่อวัน
2) เกาหลีใต้ - 0.39 ล้านบาร์เรลต่อวัน
3) อินเดีย - 0.26 ล้านบาร์เรลต่อวัน
4) ญี่ปุ่น - 0.11 ล้านบาร์เรลต่อวัน
5) ตุรกี - 0.10 ล้านบาร์เรลต่อวัน
6-8) ไต้หวัน , กรีซ และ อิตาลี - รวม 0.226 ล้านบาร์เรลต่อวัน
รวมทั้งหมด 1.7 0.10 ล้านบาร์เรลต่อวัน (ที่มา Bloomberg ตามกราฟในคอมเม้น)
---------------------
ล่าสุดทาง CNBC วิเคราะห์ว่า มีโอกาศเพียง 15% เท่านั้นที่สหรัฐจะยกเลิกการผ่อนผันออกอย่างสิ้นเชิง
ถึงแม้ว่าสหรัฐต้องการจะกดดันอิหร่านเรื่องการทดสอบนิวเคลียร์ให้เช้มงวดขึ้น แต่สหรัฐก็ยังเป็นผู้ใช้น้ำมันที่ใหฐ่ที่สุกในโลก การจะยกเลิกการผ่อนผันออกอย่างสิ้นเชิงนั้นคงทำให่ราคาขึ้นสูงกว่า 85 เหรียญ หรือแตะระดับสูงสุดในรอบ 5 ปีตั้งแต่ปี 2014 เลยทีเดียว คงทำให้ตัดสินใจได้ยาก
และประกอบกับคุณภาพของน้ำมันของอิหร่านนั้นยังเป็นที่ต้องการของตลาด ต่างกับน้ำมันที่หนักของเวเนซุเอลา ซึ่งมีเพียงไม่กี่ประเทศที่จะรับไปได้ ทำให้หากอุปทานของอิหร่านหายไปจากตลาดอีกนั้น น้ำมันดิบจะต้องขาดตลาดอย่างมากเลยทีเดียว อุปทานจะตึงตัวอย่างรุนแรงมาก
---------------------
ด้วยเหตุนี้ ทางเราจึงมองว่าราคาน้ำมัน ไม่น่าจะนิ่งอยู่ได้นานอย่างที่เราเห็นในช่วงนี้ ราคาน่าจะมีการปรับฐานแน่ๆ เมื่อใกล้วันที่ 2 พฤษภาคมนี้ครับ
Comments
Post a Comment